::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::: จัดทำด้วยนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา ::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::
 
 
 

การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน

     ปัจจุบันไก่พื้นบ้านได้รับความนิยมเพิ่มสูงขึ้นมาก เป็นเพราะไก่พื้นบ้านมีเนื้อ
รสชาติอร่อยและเนื้อแน่น เป็นที่ถูกปากของผู้บริโภคทั่วไป จนมีแนวโน้นว่า
จะสามารถส่งเนื้อไก่พื้นบ้านออกไปจำน่ายยังต่างประเทศ แต่ปัญหาคือปริมาณ
ไก่บ้านยังไม่เพื่องพอต่ิความต้องการ เพราะเกษตกรจำนวนมากประมาณร้อยละ
70 80 เปอร์เซ็นต์ จะเลี้ยงไก่พื้นบ้านแบบหลังบ้านประมาณ 10 20 ตัวต่อ ครัว
เรือน ซึ่งการเลี้ยงไก่เป็นแบบปล่อยตามยถกรรม จึงเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสีย
พอสมควร แต่ถ้าเกษตรกรสามารถปรับใช้เทคนิคการเลี้ยงแบบโรงมาผสมผสาน
กับการเลี้ยงแบบพื้นบ้านและมีการปรับปรุงพันธ์ลูกผสมระหว่างไก่พื้นบ้านกับ
ไกาพันธ์แท้แล้วย่อมส่งผลทำให้จำนวนไก่บ้านที่จะออกสู่ตลาดมี่ประมาณที่สูง
ขึ้นอย่างแน่นอน
        จากสภาพการเลี้ยงที่ปล่ายตามธรรมชาติ และขาดการดูแลเอาใจใส่อย่าง
ใกล้ชิด ทำให้การที่นำไก่พันธ์ดีเข้าไปเผยแพร่ เพื่อขจัดข้อเสียของไก่พื้นบ้าน
ดังที่กล่าวมา แล้วเป็นไปได้ยาก เนื่องจากไก่พันธ์ดีนั้น ๆ ต้องการการดูแลเอาใจ
ใส่อย่างสมำ่เสมอถ้าเอามาเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติจะไม่ ได้ผลเท่าที่ควร
ฉะนันการที่จะส่งเสริมให้มีการเลี้ยงไก่พันธุ์แท้ในสภาพการเลี้ยงดูแบบนี้ค่างข้อง
จะลำบากอย่างไรก็ตามยังมีหนทางที่จะปรับปรุงไก่พื้นบ้านให้ได้ผลผลิตที่เพิ่ม
มากขึันโดยการคงสภาพ ข้อดี่ของไก่พื้นบ้านไว้ และในขณะเดียวกันก็แก้ไขข้อ
เสียของไก่พื้นบ้านโดยการหา ลักษณะที่เด่นของไก่พันธุ์อื้นเข้ามาแทน การปรับ
ปรุงลักษณะเช่นนี้สามารถทำได้ ง่าย ๆ โดยการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างไก่พันธุ ์
บ้านกับไก่พันธุ์แท้ที่มีลักษณะที่เราต้องการ ไก่ที่นำมาพิจารณา ในกรณีนี้ต้อง
เป็นไก่ที่เป็นพันธุ์ที่สามารถให้ผลผลิตทั้ง เนื้อและไข่ และค่อนข้องทนต่อสภาพ
ภููมิอากาศแบบบ้านเราได้ ซึ่งเมื่อพิจารฌาให้ดี แล้วจะพบว่าไก่พันธุ์โรคไอแลนด์
เรด ซึ่งนิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่าไก่โรคนั้นมีคุณสมบัติครบถ้วนดังที่กล่าวมา ดังนั้น
ดังนั้นเมื่อนำไก่ทั้งสองพันธุ์มาผสมข้ามพันธุ์แล้วจะได้ไก่ที่มีการเจริญเติบโตและ
การให้ไข่ที่ดีกว่าไก่พื้นบ้านเดิมนอกจากนี้มีความสามารถใน การหากินในสภาพ
การเลี้ยงแบบปล่อยลานบ้านเหมือนกับไก่พื้นบ้านได้อีกด้วย
 
 
 

   

 
 
 
 
 
 
 


Free Counter

สนใจติดต่อเว็บมาสเตอร์

083-1687647, 08-57992556  

www.chickenfarm.ueuo.com 

                                                             
Free Web Hosting