::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::: จัดทำด้วยนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา ::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::::

การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน

                                  
โรงเรือนไก่
       เรือนโรงไก่สามารถทำเป็นแบบง่่าย ๆ ได้โดยอาศัยวัสดุที่มีในในท้องถิ่ง
เช่น ไม้ใผ่หรือไม้รวกเป็นต้น ขนาดของโรงเรือนก็ขึ้นอยู่กับจำนวนไก่ที่จะเลี้ยง
และขึ้นอยู่กับบริเวณพื้นที่ใต้ถุนบ้านหรือ บริเวณลานบ้าน เกษตรกรบางราย
สร้างเรือนโรงดังกล่าวไว้สำหรับเลี้ยงไก่ แต่ก็มีเกษตรกรอีกจำนวนมากที่ยัง
เลี้ยงโดย การเลี้ยงปล่อยให้ไก่เกาะคอนนอนตามใต้ถุนบ้าน หรือตามต้นไม้
ซึ่งการเลี้ยงเช่นนี้ทำให้ การดูแลรักษาทำได้ลำบากก่อให้เกิดความสูญเสีย
มากพอสมควร
      
การสร้างเรือนโรงไก่จะจุดประค์หลัก ๆ ดังนี้คือ
   1. ให้เป็นที่กกลูกไก่แทนแม่ไก่
   2. ให้ไก่หลบพักผ่อนในช่วงกลางคืน
   3. เป็นทีให้อาหารและน้ำในช่วงภาวะอากาศแปรปราน เช่น ฝนตกหนัก
    4. ใช้เป็นที่ขังไก่เพื่อทำวัคซีน
    5. ใช้เป็นที่ขังไก่เพื่อให้ยาหรือยาปฎิชีวนะป้องกันรักษาโรค  
     การสร้างเรือนโรงไก่ควรคำนึงถึงความโปร่งและให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ไม่มืดทีบและมีความสูงเพื่อที่จะให้ผู้เลี้ยงเข้าออกได้สะดวกพอควรบริเวณ   
ัวเรือนโรงจะใช้ลาดตาข่าย แห อวนเก่า ๆ หรือไม้รวกผ่าซีกก็ได้นำมาปูรอบ  
รือนโรง นอกจากนั้นควรมีถุงปุ๋ยหรือกระสอบเก่า ๆ แต่ล้างให้สะอาดแล้ว   
สำหรับทำเป็นม่านป้องกันลมและฝน โดยเฉพาะในระยะการกกลูกไก่ เรือนไก่
รือนโรงที่สร้างอยู่ใต้ถุนบ้านไม่มีความจำเป็นต้องสร้างหลังคา แต่ถ้าสร้างอยู่   
นลานบ้านอาจใช้แผงจากมุงเป็นหลังคาก็ได้  
   
    
      
   
   
      
 
 

   

 
 
 
 
 
 
 

สนใจติดต่อเว็บมาสเตอร์

083-1687647, 08-57992556  

www.chickenfarm.ueuo.com

Free Web Hosting